วันอาทิตย์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2552

พระราชบัญญัติ จราจรทางบก พ.ศ.2522



กฏจราจร
เป็นกติกา มารยาท ในการใช้ถนนร่วมกัน กฎจราจร เป็นเพียงเครื่องมือ นำไปสู่วิธีปฏิบัติ ไม่ใช่เป้าหมายในตัวเอง การใช้รถ - ใช้ถนน ต้องเป็นไปตาม กฎจราจรผู้ใดฝ่าฝืนไม่กระทำตามถือว่าเป็นความผิดหรือฝ่ายผิด และจากผลสรุปจาก พ.ร.บ. จราจร สรุปว่าฝ่ายใดผิดก็ให้ฝ่ายผิดต้องชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดขึ้นตาม พ.ร.บ คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถโดยให้บริษัทประกันภัยที่รับประกันไว้เป็นผู้รับผิดชอบแทนตามวงเงินที่กำหนดไว้


หน้าที่ตาม พ.ร.บ.

  • ปฏิบัติตาม กฎจราจร
  • พกพาใบอนุญาตขับขี่
  • พกสำเนาคู่มือจดทะเบียนรถ
  • แจ้งเหตุต่อตำรวจเมื่อเกิดเหตุ หรือประสบเหตุ

พ.ร.บ. จราจรทางบก เป็นกฎหมายว่าด้วยการใช้รถใช้ถนนเพื่อความปลอดภัยของประชาชนซึ่งเป็นมาตรการป้องกันการเกิดเหตุหรือความเสียหายที่อาจจะมีขึ้น

พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ เป็นกฎหมายว่าด้วยการให้ความคุ้มครองต่อผู้ประสบภัยอันเกิดจากการใช้รถ เพื่อบรรเทาผลร้ายหรือค่าเสียหายต่อชีวิต-ร่างกาย ของคน

(อ้างอิงข้อมูล:ศูนย์กลางความรู้แห่งชาติ;กฏจราจร(Thailand Knowledge Center)เว๊บไซด์ http://www.tkc.go.th/eng/pageconfig/viewcontent/viewcontent1.asp?pageid=159&directory=2964&contents=3134)

ตัวอย่างการไม่ยอมรับกฏจราจร

เหตุเกิดวันที่ 16 มีนาคม 2551 ที่แยกพาหุรัด เวลา 11.00 น. ทำผิดกฏหมาย โดยไม่คาดเข็ดขัดนิรภัย ไม่มีใบอนุญาตขับขี่รถ ตำรวจเรียกตรวจแล้วขับรถหนีตำรวจ เลยไปประมาณ 10 เมตร แล้วรีบเอาเข็ดขัดนิรภัยมาคาดแบบลวกๆ

ใหญ่มาจากไหน..ฮะ ? ?


(อ้างอิงวีดีโด: http://www.youtube.com -->ค้นหา"สาวธนาคารกสิกรไทยฯ")

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น